2.เตรียมข้อมูลหลักต่างๆก่อนเริ่มใช้งานประจำวัน ประกอบด้วย ข้อมูลกิจการ,คลังสินค้า,สินค้า,ลูกค้า,ผู้จำหน่าย,พนักงานผู้ใช้ระบบ,กำหนดเครื่องเก็บเงิน,พนักงานขาย,ธนาคารและบัตรเครดิต,บัญชีเงินฝากธนาคาร ฯลฯ
2.1 คลังสินค้า (ต้องการดูสต๊อกสินค้าแบ่งเป็นกี่คลัง/เก็บสินค้ากี่ที่)
2.2 ข้อมูลสินค้า (เพิ่ม/แก้ไข/ลบ ข้อมูลสินค้า-อาหาร-เครื่องดื่ม-วัตถุดิบ และการตั้งค่าที่เกี่ยวข้องกับสินค้า)
หมายเหตุ: ขั้นตอนนี้ยังไม่เกี่ยวข้องกับจำนวนสินค้า
ข้อสังเกตุ:
2.2.2 ถ้าเป็นสินค้าชนิดเดียวกันที่มีการขายหลายหน่วยนับและมีบาร์โค้ดไม่เหมือนกันให้เพิ่มรหัสสินค้าเท่ากับจำนวนหน่วยนับที่มี เช่น ชิ้น แพ็ค ลัง ก็ให้เพิ่มสินค้า 3 รหัส และถ้ามีการแตกหน่วยใหญ่มาเป็นหน่วยย่อยบ่อยๆเช่นแตกจากลังมาเป็นชิ้นเพื่อขายให้เก็บสต๊อกเป็นหน่วยย่อยเพื่อไม่ให้ยุ่งยากในการแตกหน่วยและใช้ฟังก์ชั่นสินค้าชุด ดูวิธีตาม link ด้านล่างนี้
ข้อสังเกตุ:
สำหรับสินค้าที่ขายราคาไม่เท่ากันแต่ละลูกค้าจะมีให้เลือกตั้งค่า 2 รูปแบบ
2.2.4 ตั้งราคาตามกลุ่มลูกค้า โดยจะต้องแบ่งกลุ่มลูกค้าและตั้งระดับราคาตามกลุ่มลูกค้า (โดยให้กำหนดเป็นหมายเลขประจำกลุ่มลูกค้านั้นเพื่อให้สัมพันธ์กับระดับราคาที่อยู่ในข้อมูลสินค้า)
2.2.5 ตั้งราคาขายตาม ราคาที่อยู่ในเอกสารขายครั้งล่าสุดของลูกค้าคนนั้นในกรณีที่ขายราคาไม่เท่ากันและไม่สามารถตั้งระดับลูกค้าได้
(ถ้าไม่เคยทำเอกสารขายลูกค้าคนนั้นมาก่อนระบบจะดึงราคาที่กำหนดในข้อมูลสินค้ามาแสดงในเอกสารขาย)
3. ข้อมูลลูกค้า (เพิ่ม/แก้ไข/ลบ ข้อมูลลูกค้าและการตั้งค่าที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า)
4. ข้อมูลผู้จำหน่าย Supplier-ผู้ที่เราซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบมาขายต่อ (เพิ่ม/แก้ไข/ลบ ข้อมูลผู้จำหน่ายและการตั้งค่าที่เกี่ยวข้องกับผู้จำหน่าย)
5. เพิ่มข้อมูลโต๊ะอาหารที่ใช้ในการเปิดบิลขายและคิดเงินในร้านอาหารของท่าน
6. ตั้งค่าอุปกรณ์pos ที่ใช้ร่วมกับโปรแกรมร้านอาหาร Tastymax